Present continuous หรือบางคนเรียก Present progressive เป็นรูปที่ แสดงกิจกรรมหรือการกระทำที่กำลังเกิดขึ้นในตอนนี้ เดี๋ยวนี้ ขณะที่กำลังพูด (an activity that is in progress right now) ซึ่งก็ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าจะจบสิ้นการกระทำนั้นเมื่อใด แต่ที่แน่ๆ คือจะจบในอนาคต ตอนไหนไม่รู้ โดยมากมักมีคำ หรือวลี ชี้แสดงว่ากำลังเกิดขึ้นในขณะที่พูดถึงการกระทำนั้นๆ เช่น right now, at the moment, now อ่านเพิ่มเติม
วันศุกร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2559
การเติม s ที่ท้ายคำ
การเติม s es ที่คำกริยา ก็คล้ายกันกับการเติม s es ที่ท้ายคำนาม เพื่อทำคำนามให้เป็นนามพหูพจน์ทุกประการ ยกเว้นท้ายกริยาที่ลงท้ายด้วย o เท่านั้นที่แตกต่างนิดหนึ่ง เพราะกริยาที่ลงท้ายด้วย o ให้เติม es อย่างเดียว ไม่เหมือนคำนามที่เติม s บ้าง es บ้าง อ่านเพิ่มเติม
Noun action verbs
action verb & stative verb
คำกริยาในภาษาอังกฤษมีเย๊อะแยะมากมาย เรารู้กันดีอยู่แล้วว่ากริยาคือคำที่แสดงการกระทำ แค่กริยาอย่างเดียวก็ถูกแบ่งเป็นกลุ่มได้หลายแบบ ในที่นี้จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
Action verb
Stative verb
1. action verbหรือ บางคนเค้าก็เรียกว่า dynamic verb คือคำกริยาที่แสดงอาการ การกระทำ มีการขยับเขยื้อน เคลื่อนไหว พูดง่ายๆคือ เรานึกภาพออกว่าเขาทำกริยานั้นๆอย่างไร เช่ อ่านเพิ่มเติม
การออกเสียงที่ลงท้ายด้วย s/-es
การออกเสียง s หรือ es ท้ายคำกริยา ออกเสียงได้ดังนี้
1. ออกเสียง s เป็น /s/ เมื่อคำกริยาเหล่านั้นลงท้ายด้วย /f/, /k/, /p/, /t/ เช่น...
work = works
sit = sits
stop = stops
laugh = laughs
รูปกรรมของบุพบท ( objects of prepositions )
Objects of Prepositions (กรรมของบุพบท)
กรรมของบุพบทมีหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น นาม, สรรพนาม, กริยานาม , gerund , infinitive หรือ
noun clause เช่น อ่านเพิ่มเติม
กรรมของบุพบทมีหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็น นาม, สรรพนาม, กริยานาม , gerund , infinitive หรือ
noun clause เช่น อ่านเพิ่มเติม
การใช้งานคำ Adjective (คำคุณศัพท์)
เรามีหลักการการใช้งานคำ Adjective (คำคุณศัพท์) ดังนี้
1. เรียงไว้หน้าคำนามที่คุณศัพท์นั้นไปขยายโดยตรงได้ ยกตัวอย่างเช่น
He is a strong man. (เขาเป็นคนแข็งแรงมาก) stong เป็น adjective ซึ่งไปวางข้างหน้าเพื่อที่จะขยายคำนามคือ man
2. วางไว้หลัง verb to be ยกตัวอย่างเช่น
She is tall. (เธอเป็นผ็หญิงตัวสูง) คำว่า tall ไปวางหลัง verb to be (is, am อ่านเพิ่มเติม
บุรุษสรรพนาม ( personal pronouns
บุรุษสรรพนามหรือ Personal Pronouns คืออะไร?
Personal Pronouns คือ สรรพนามที่ใช้แทนบุคคล แบ่งออกเป็น 3ประเภท ได้แก่
สรรพนามบุรุษที่ 1 (The first person) คือ สรรพนามที่ใช้แทนผู้พูดหรือตัวเรา ได้แก่ I (ฉัน, ข้าพเจ้า), We (พวกเรา→หลายคน)
สรรพนามบุรุษที่ 2 (The second person) คือ สรรพนามที่ใช้แทนคนที่ผู้พูดพูดด้วยหรือคนที่เราพูดด้วย ได้แก่ You (คุณ, พวกคุณ→หลายคน) อ่านเพิ่มเติม
คำนามแสดงความเป็นเจ้าของ ( possessive nouns )
Possessive nouns (พอสเซสซิฟวฺ นาวสฺ) หมายถึง การทำให้คำนามอยู่ในรูปแสดงความเป็นเจ้าของมีอยู่ 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 หากคำนามที่จะเปลี่ยนให้แสดงความเป็นเจ้าของเป็นรูปเอกพจน์ และเป็นบุคคลหรือสัตว์ให้ใส่ apostrophe s (’s) ท้ายคำนาม
แบบที่ 2 หากคำนามที่จะเปลี่ยนให้แสดงความเป็นเจ้าข อ่านเพิ่มเติม
แบบที่ 1 หากคำนามที่จะเปลี่ยนให้แสดงความเป็นเจ้าของเป็นรูปเอกพจน์ และเป็นบุคคลหรือสัตว์ให้ใส่ apostrophe s (’s) ท้ายคำนาม
แบบที่ 2 หากคำนามที่จะเปลี่ยนให้แสดงความเป็นเจ้าข อ่านเพิ่มเติม
Reflexive pronouns
Pronouns คือ คำที่ใช้เพื่อทดแทนคำนาม หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า “สรรพนาม” สำหรับ Reflexive pronouns (ริเฟล็กซิฟวฺ โพรนาวสฺ) หมายถึง สรรพนามที่สะท้อนกลับไปยังคำนามหรือสรรพนามที่ทำหน้าที่ประธานในประโยค ข้อสังเกตของสรรพนามประเภทนี้คือลงท้ายด้วย -self ถ้าเป็นเอกพจน์ หรือ -selves ถ้าเป็นพหูพจน์ ได้แก่ อ่านเพิ่มเติม
รูปเอกพจน์ของ other , anotherและ the other
คำว่า Other และ Another สามารถเป็นได้ทั้ง adjective นั่นคือ วางไว้หน้าคำนาม และเป็นได้ทั้ง pronoun หรือ สรรพนามซึ่งใช้แทนคำนามได้เลย
Other – ใช้พูดถึงสิ่งหนึ่งหรือบุคคลหนึ่งซึ่งแตกต่างหรือแปลกแยกจากสิ่งหนึ่งหรือบุคคลหนึ่งที่ได้พูดถึงไปแล้ว
Another – ใช้พูดถึงอีกสิ่งหนึ่งหรืออีกบุคคลหนึ่งซึ่งมีลักษณะเช่นเดียวกับสิ่งหนึ่งหรือบุคคลหนึ่งที่ได้พูดถึงไปแล้ว อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)